หน่วยปฏิบัติการพิเศษ (SWAT: Special Weapons and Tactics) ถ้าจะแปลตรงตัวน่าจะแปลว่า “หน่วยอาวุธและกลยุทธ์พิเศษ” ในช่วงที่ผ่านมาเรามักจะพูดกันถึงพลซุ่มยิง (Sniper) แต่พลซุ่มยิงในทางทหารกับตำรวจจะทำงานต่างกัน ชุดซุ่มยิงของทหารมักจะทำงานเป็นชุดยิงที่ประกอบด้วยกำลังพล 2 นายคือ พลยิง และผู้สังเกตการณ์ ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นผู้คุ้มกันด้วย เป้าหมายที่ชุดซุ่มยิงจะกำจัดมักเป็นเป้าหมายที่มีผลต่อยุทธศาสตร์ หรือยุทธวิธีในการปฏิบัติในพื้นที่นั้นๆ หรือแผนการปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่อง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgKcPKOFvpqwnpHwGYpOFFERvmmKyxwVaa0yBiLaAej6xPYxAqi-MUmbQNIlo0PKcbcHiG8KCcDg9FQaBZ6AlYkNJ8Z4fBo3TelAAUM4G7QNde89X_VF9tNonqXp7uJWhOXvsNGULiU_Fg9/s1600/srt.jpg)
สำหรับพลซุ่มยิงในทางตำรวจจะทำงานเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ หรือในบางหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายของสหรัฐฯเรียกหน่วยนี้ในอีกชื่อหนึ่งว่า หน่วยปฏิบัติการตอบโต้พิเศษ (SRT: Special Response Team)
หน่วยปฏิบัติการพิเศษที่ผมจะเล่าให้ฟังจะเป็นในส่วนของตำรวจหรือหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย ส่วนหน่วยปฏิบัติการพิเศษในทางการทหารขออุบไว้เล่าในอนาคตครับ
หน่วยปฏิบัติการพิเศษของตำรวจหน่วยแรกในโลกคือ หน่วยปฏิบัติการพิเศษของตำรวจหน่วยแรกในโลกคือ หน่วย S.W.A.T. (Special Weapons And Tactics Team) ถูกริเริ่มขึ้นในปลายทศวรรษที่ 60 และได้รับการจัดตั้งอย่างเป็นทางการในปี 1972 (แต่ WIKI ว่า 1968 ผู้เล่า) โดยกรมตำรวจแห่งนครลอสแอนเจลิส (LAPD) ด้วยการเห็นคุณค่าของความจำเป็นและประโยชน์ที่จะได้รับจากการมีคณะที่ได้รับ การฝึกฝนและทำงานประจำด้วยกันในหน่วยงานของเมืองใหญ่ ซึ่งนับเป็นความคิดริเริ่มในเวลานั้น หน่วยงานนำมาซึ่งการรวบรวมวิธีการปราบปรามสถานการณ์รูปแบบต่างๆของตำรวจ จากนั้นมันก็กลายเป็นตำนานขึ้นมาในหมู่หน่วยงานปราบปรามต่างๆทั่วโลก ในขณะนี้ หน่วย S.W.A.T. เป็นหน่วยงานชั้นนำที่ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ตำรวจของลอสแอนเจลิสอย่างน้อย 60 นาย นายสิบตำรวจ 6 นาย และร้อยโทอีก 1 นาย ซึ่งทั้งหมดล้วนถูกฝึกจนมีความชำนาญและเต็มไปด้วยกลยุทธ์ในการจู่โจม หน่วยงานครอบคลุม 16 พื้นที่โดยแบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ของลอสแอนเจลิส เมืองที่มีเนื้อที่ทั้งหมดเกือบ 500 ตารางไมล์ เป็นทีมแรกๆที่อาศัยยุทธิวิธีในการปฏิบัติงานสำหรับการใช้กฎหมายของเมือง
หลังจากเหตุการณ์การปราบปรามอย่างลับๆหลายครั้งต่อต้านพวกพลเรือนและเจ้า หน้าที่ตำรวจทั่วประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในลอสแอนเจลิสช่วงระหว่างและหลังจากการก่อจลาจล Watts Riots ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 ทำให้เกิดข้อเท็จจริงที่ว่าการตอบโต้ต่อสถานการณ์เช่นนั้นไม่เพียงพอ ดังนั้น หน่วยอาสาสมัครหลายหน่วยที่มีชื่อว่า station defense team อันประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ผู้มีความชำนาญงานและมีประสบการณ์ทางทหาร จึงถูกสร้างขึ้น
อย่างไรก็ตาม หน่วย S.W.A.T. นั้น ยังคงได้รับเงินช่วยเหลือเพียงน้อยนิด จนกระทั่งในปี 1984 ที่คณะกรรมการโอลิมปิกเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เพราะการแข่งโอลิมปิกเกมส์ในลอสแอนเจลิสนั้นถูกมองว่าน่าจะเป็นเป้าหมายของ ผู้ก่อการร้าย หน่วย S.W.A.T. จึงได้รับเงินช่วยเหลือสำหรับอุปกรณ์เพิ่มเติมและการฝึกที่จำเป็นสำหรับการ ป้องกันการก่อการร้าย งานโอลิมปิกที่ลอสแอนเจลิสลุล่วงลงโดยไม่เกิดเหตุการณ์ใดๆขึ้น แต่เงินช่วยเหลือและการฝึกที่เริ่มต้นขึ้นจากงานนั้นกลายเป็นจุดเปลี่ยน สำคัญของหน่วยตำรวจลอสแอนเจลิสและ S.W.A.T. หลังจากความสำเร็จของหน่วย S.W.A.T. ของกรมตำรวจลอสแอนเจลิส เมืองอื่นๆทั่วสหรัฐอเมริกาและส่วนต่างๆของโลกก็ได้จัดตั้งหน่วยงานที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกัน ซึ่งแม้ว่าไม่ทั้งหมดจะถูกเรียกว่า S.W.A.T. และไม่ทั้งหมดที่อยู่ใต้การอุปถัมภ์ของกรมตำรวจของเมืองนั้นๆ (บางหน่วยอยู่ใต้สมาพันธรัฐหรือหน่วยงานติดอาวุธที่เป็นอำนาจของศาล) แต่ทั้งหมดก็มีจุดประสงค์เดียวกันคือเรื่องการใช้ยุทธวิธีอันชาญฉลาดเพื่อคลี่คลายสถานการณ์
ในฐานะที่เป็นหน่วยงานชั้นนำ สมาชิกของหน่วย S.W.A.T. ต้องถูกคัดเลือกอย่างเข้มงวดมากทั้งทางด้านร่างกายและมาตรฐานความชำนาญงาน ผู้สมัครจะถูกเลือกจากคนที่สามารถเข้าสู่หน่วย Metropolitan Division ได้หลังจากใช้เวลาอย่างน้อยสี่ปีในกรมตำรวจของลอสแอนเจลิส หลังใช้เวลาหนึ่งปีใน Metro เจ้าหน้าที่อาจสมัครเข้าหน่วย S.W.A.T. ซึ่งเป็นเวลาที่พวกเขาจะต้องยอมรับต่อกระบวนการทดลองงานนานสองอาทิตย์ที่ ต้องอาศัยความเอาใจใส่อย่างมาก ผู้ที่ผ่านการทดสอบจะถูกขึ้นชื่อในรายชื่อซึ่งผู้เข้าแข่งขันรายสุดท้ายๆจะ ถูกเลือก ในแต่ละปี มีเจ้าหน้าที่ประมาณ 50 นายที่เข้าสมัคร แต่เพียงแค่ 8 ถึง 10 คนเท่านั้นที่จะสามารถเข้าทำงานในหน่วย S.W.A.T. ได้ เมื่อพวกเขาถูกคัดเลือกแล้ว เจ้าหน้าที่จะเริ่มเข้าสู่โปรแกรมการฝึกอันเข้มข้นซึ่งกินเวลานาน 7 สัปดาห์
ในฐานะที่เป็นหน่วยงานชั้นนำ สมาชิกของหน่วย S.W.A.T. ต้องถูกคัดเลือกอย่างเข้มงวดมากทั้งทางด้านร่างกายและมาตรฐานความชำนาญงาน ผู้สมัครจะถูกเลือกจากคนที่สามารถเข้าสู่หน่วย Metropolitan Division ได้หลังจากใช้เวลาอย่างน้อยสี่ปีในกรมตำรวจของลอสแอนเจลิส หลังใช้เวลาหนึ่งปีใน Metro เจ้าหน้าที่อาจสมัครเข้าหน่วย S.W.A.T. ซึ่งเป็นเวลาที่พวกเขาจะต้องยอมรับต่อกระบวนการทดลองงานนานสองอาทิตย์ที่ ต้องอาศัยความเอาใจใส่อย่างมาก ผู้ที่ผ่านการทดสอบจะถูกขึ้นชื่อในรายชื่อซึ่งผู้เข้าแข่งขันรายสุดท้ายๆจะ ถูกเลือก ในแต่ละปี มีเจ้าหน้าที่ประมาณ 50 นายที่เข้าสมัคร แต่เพียงแค่ 8 ถึง 10 คนเท่านั้นที่จะสามารถเข้าทำงานในหน่วย S.W.A.T. ได้ เมื่อพวกเขาถูกคัดเลือกแล้ว เจ้าหน้าที่จะเริ่มเข้าสู่โปรแกรมการฝึกอันเข้มข้นซึ่งกินเวลานาน 7 สัปดาห์
สมาชิกของหน่วย S.W.A.T. ทุกคนจะ ถูกฝึกทุกๆอย่างๆ แต่มีหลายนายเช่นกันที่เลือกจะฝึกแบบชำนาญเฉพาะทาง เช่น พลจู่โจม พลซุ่มยิง เป็นต้น บางนายก็เลือกที่จะฝึกเป็นผู้เจรจา ปัจจุบันนี้มีเจ้าหน้าที่หน่วย S.W.A.T. จำนวน 18 นายที่ชำนาญในการเจรจาต่อรอง ภายหลังจากการฝึกเจ้าหน้าที่มักจะรอคอยงานชิ้นเปิดตัวก่อนที่จะได้เข้าร่วม ทีมอย่างเป็นทางการ แม้ว่าพวกเขาจะได้รับเชิญให้ไปช่วยในสถานการณ์ที่ต้องอาศัยยุทธวิธีในการ ปรามปรามอยู่หลายครั้งเวลาที่กำลังคนขาดแคลนก็ตาม การปฏิบัติงานในอาชีพของสมาชิกหน่วย S.W.A.T. นั้น ระยะ เวลาการทำงานที่นานที่สุดอยู่ที่ 27 ปี ระยะการทำงานโดยเฉลี่ยของหน่วยได้แก่ 8 ถึง 12 ปี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ส่วนมากก็จะถูกเลื่อนขั้นไปยังหน่วยงานอื่นในกรมตำรวจนครลอสแอนเจลิส
สำหรับประเทศไทยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ในขณะนั้นเป็นนายกรัฐมนตรี ได้เล็งเห็นถึงภัยคุกคามจากต่างประเทศ เช่น ผู้ก่อการร้ายสากล ท่านจึงมีดำริให้กรมตำรวจจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการพิเศษ จึงได้จัดตั้งหน่วย นเรศวร 261 และ อรินราช 26 (โดยชื่อมาจาก อริ = ข้าศึก, ศัตรู + อินท = จอม, ผู้เป็นใหญ่ + ราช = พระราชา + 26 = ปีที่ก่อตั้ง พ.ศ. 2526) โดยแต่ต่างกันในเขตรับผิดชอบ และต้นสังกัด
ในปัจจุบันสำนักงานตำรวจแห่งชาติของไทยมีหน่วยปฏิบัติการพิเศษแยกได้ดังนี้
อรินทราช 26 สังกัด กองร้อยที่ 5 กองกับการ 2 ป้องกันและปราบปรามจลาจล กองบังคับการตำรวจปฏิบัติการพิเศษ (กก.2 บก.ตปพ.) และขึ้นตรงกับ กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น)
นเรศวร 261 สังกัด กองกำกับการ 3 กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
คอมมานโดของกองปราบ “หน่วยสยบริปูสะท้าน”
ชุดปฏิบัติการพิเศษ “สยบไพรี” หรือ NSB Commando ของ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.)
ชุดปฏิบัติการพิเศษ “นารายณ์ 471″ ของ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
ในปัจจุบันสำนักงานตำรวจแห่งชาติของไทยมีหน่วยปฏิบัติการพิเศษแยกได้ดังนี้
อรินทราช 26 สังกัด กองร้อยที่ 5 กองกับการ 2 ป้องกันและปราบปรามจลาจล กองบังคับการตำรวจปฏิบัติการพิเศษ (กก.2 บก.ตปพ.) และขึ้นตรงกับ กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น)
นเรศวร 261 สังกัด กองกำกับการ 3 กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
คอมมานโดของกองปราบ “หน่วยสยบริปูสะท้าน”
ชุดปฏิบัติการพิเศษ “สยบไพรี” หรือ NSB Commando ของ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.)
ชุดปฏิบัติการพิเศษ “นารายณ์ 471″ ของ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
อรินทราช 26 เป็นหน่วยตำรวจที่มีความขำนาญการใช้อาวุธและยุทธวิธีพิเศษ (Special Weapons And Tactics : S.W.A.T.) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการพิเศษต่อภัยคุกคามที่เป็นอาชญากรรม และการก่อการร้าย ด้วยการแย่งชิงตัวประกัน การจับกุม ฯลฯ ตามแนว “การบริหารวิกฤตการณ์” (Crisis Management) โดยมีพื้นที่รับผิดชอบในเมืองหลวง และปริมณฑล เป็นหน่วยระดับ กองร้อย มีอุปกรณ์ครบมือเช่น ปืนยิงแห, ปืนไฟฟ้า, ปืนพก, ปืนลูกซอง, ปืนกลเบา, ปืนไรเฟิล, ระเบิดมือ, อุปกรณ์ต่อต้านการจลาจล ฯลฯ
ภารกิจ หน้าที่
* ช่วยเหลือตัวประกัน
* ควบคุมการก่อจลาจล
* ปราบปรามอาชญากรรม
* ต่อต้านการก่อการร้าย
* ให้ความปลอดภัยบุคคลสำคัญ
* เพิ่มการรักษาความปลอดภัยในจุดสำคัญ ในเวลาปกติ และเมื่อมีกิจกรรมพิเศษ
* ช่วยเหลือตัวประกัน
* ควบคุมการก่อจลาจล
* ปราบปรามอาชญากรรม
* ต่อต้านการก่อการร้าย
* ให้ความปลอดภัยบุคคลสำคัญ
* เพิ่มการรักษาความปลอดภัยในจุดสำคัญ ในเวลาปกติ และเมื่อมีกิจกรรมพิเศษ
การฝึก
อรินทราช 26 มาจากผู้ที่เรียนจบจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ หรืออาสาสมัครตำรวจ การฝึกในครั้งแรกไม่มีรูปแบบที่แน่นอน โดยได้รับการสนับสนุนครูฝึกจาก ตร. และยึดรูปแบบการปฏิบัติการเป็นทีม 5 คน เหมือนหน่วยปฏิบัติการพิเศษ GSG 9 ของประเทศเยอรมนี มีการฝึกการยิงปืนทางยุทธวิธี การฝึกพลแม่นปืน การปฏิบัติการทางน้ำ การต่อสู้ป้องกันตัว การขับขี่ยานพาหนะในรูปแบบต่างๆ เมื่อการฝึกรุ่นแรกสำเร็จ ก็มีการถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่เข้าประจำการในกองร้อยปฏิบัติการพิเศษเรื่อย มา อีกทั้งมีการจัดส่งกำลังพลไปฝึกในหลักสูตรต่างๆ ของต่างประเทศและนำวิชาความรู้กลับมาถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่อยู่ในหน่วย โดยจะทำการฝึกกันเองถ่ายทอดกันต่อๆ มา และได้มีการจัดแบ่งหลักสูตร ออกเป็น 5 หลักสูตร คือ
1. หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 24 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุใหม่
2. หลักสูตรทบทวนการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 6 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่ประจำการอยู่ในหน่วย และฝึกทดสอบแผนปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย 1 สัปดาห์
3. หลักสูตรการทำลายระเบิด 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลเก็บกู้ทำลายระเบิด”
4. หลักสูตรพลแม่นปืน 4 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลซุ่มยิง”
5. หลักสูตรผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์ 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “ผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์”
นอกจากนี้ยังมีการฝึกต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น “แผนกรกฏ 48″ การฝึกในสถานการณ์สมมุติ และการฝึกร่วมกับหน่วยงานอื่น
อรินทราช 26 มาจากผู้ที่เรียนจบจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ หรืออาสาสมัครตำรวจ การฝึกในครั้งแรกไม่มีรูปแบบที่แน่นอน โดยได้รับการสนับสนุนครูฝึกจาก ตร. และยึดรูปแบบการปฏิบัติการเป็นทีม 5 คน เหมือนหน่วยปฏิบัติการพิเศษ GSG 9 ของประเทศเยอรมนี มีการฝึกการยิงปืนทางยุทธวิธี การฝึกพลแม่นปืน การปฏิบัติการทางน้ำ การต่อสู้ป้องกันตัว การขับขี่ยานพาหนะในรูปแบบต่างๆ เมื่อการฝึกรุ่นแรกสำเร็จ ก็มีการถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่เข้าประจำการในกองร้อยปฏิบัติการพิเศษเรื่อย มา อีกทั้งมีการจัดส่งกำลังพลไปฝึกในหลักสูตรต่างๆ ของต่างประเทศและนำวิชาความรู้กลับมาถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่อยู่ในหน่วย โดยจะทำการฝึกกันเองถ่ายทอดกันต่อๆ มา และได้มีการจัดแบ่งหลักสูตร ออกเป็น 5 หลักสูตร คือ
1. หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 24 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุใหม่
2. หลักสูตรทบทวนการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 6 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่ประจำการอยู่ในหน่วย และฝึกทดสอบแผนปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย 1 สัปดาห์
3. หลักสูตรการทำลายระเบิด 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลเก็บกู้ทำลายระเบิด”
4. หลักสูตรพลแม่นปืน 4 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลซุ่มยิง”
5. หลักสูตรผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์ 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “ผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์”
นอกจากนี้ยังมีการฝึกต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น “แผนกรกฏ 48″ การฝึกในสถานการณ์สมมุติ และการฝึกร่วมกับหน่วยงานอื่น
อุปกรณ์
ชุดสำหรับปฏิบัติหน้าที่
ใน การแต่งกายจะไม่สามารถเปิดเผยใบหน้าได้ ที่ชุดบริเวณไหล่ซ้าย มีอาร์มสีบานเย็น รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ตรงกลางมีรูปอักขระยันต์ มีตัวหนังสือบอกหน่วยสังกัดว่า “ตำรวจนครบาล ปฏิบัติการพิเศษ” นั่นคือ “ตำรวจ 191″ เนื้ออาร์มมีคำว่า “อรินทราช 26″ บริเวณหน้าอก มีรูปโล่อยู่ตรงกลาง พื้นโล่สีดำแดง กลางโล่มีสายฟ้าสีขาว มีดอกชัยพฤกษ์สีทองพุ่งเข้าหาโล่จากด้านข้าง ข้างละ 6 ดอก สีพื้นของชุดจะเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นสีสำหรับหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริเวณกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยชุดแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. ชุดทำงานปกติ สามารถเห็นได้ทั่วไปตามจุดสำคัญ
2. ชุดเวสสีน้ำเงิน ใช้สำหรับฝึกและเตรียมพร้อมก่อนปฏิบัติงาน
3. ชุดเวสพร้อมอุปกรณ์ โดยจะมีอุปกรณ์ครบมือ ตั้งแต่หมวกกันกระสุน, เสื้อกันกระสุน, อาวุธอื่นๆ ที่เพิ่มเข้า
4. ชุดปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย โดยชุดนี้จะเหมือนแบบที่ 3 เว้นแต่สีชุดที่เป็นสีดำ จะใส่ชุดนี้เมื่อต้องทำงานกับหน่วยงานอื่น (การสนธิกำลัง)
ชุดสำหรับปฏิบัติหน้าที่
ใน การแต่งกายจะไม่สามารถเปิดเผยใบหน้าได้ ที่ชุดบริเวณไหล่ซ้าย มีอาร์มสีบานเย็น รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ตรงกลางมีรูปอักขระยันต์ มีตัวหนังสือบอกหน่วยสังกัดว่า “ตำรวจนครบาล ปฏิบัติการพิเศษ” นั่นคือ “ตำรวจ 191″ เนื้ออาร์มมีคำว่า “อรินทราช 26″ บริเวณหน้าอก มีรูปโล่อยู่ตรงกลาง พื้นโล่สีดำแดง กลางโล่มีสายฟ้าสีขาว มีดอกชัยพฤกษ์สีทองพุ่งเข้าหาโล่จากด้านข้าง ข้างละ 6 ดอก สีพื้นของชุดจะเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นสีสำหรับหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริเวณกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยชุดแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. ชุดทำงานปกติ สามารถเห็นได้ทั่วไปตามจุดสำคัญ
2. ชุดเวสสีน้ำเงิน ใช้สำหรับฝึกและเตรียมพร้อมก่อนปฏิบัติงาน
3. ชุดเวสพร้อมอุปกรณ์ โดยจะมีอุปกรณ์ครบมือ ตั้งแต่หมวกกันกระสุน, เสื้อกันกระสุน, อาวุธอื่นๆ ที่เพิ่มเข้า
4. ชุดปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย โดยชุดนี้จะเหมือนแบบที่ 3 เว้นแต่สีชุดที่เป็นสีดำ จะใส่ชุดนี้เมื่อต้องทำงานกับหน่วยงานอื่น (การสนธิกำลัง)
อาวุธประจำกาย
ในหน่วยงานราชการมีการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ยุทธภัณฑ์อยู่เสมอ สำหรับปืนสั้น เคยมีการใช้ Browning ปัจจุบันมีการใช้ Glock 19 และ HK P7M8 ส่วนอาวุธประจำกายคือ MP5 สำหรับบางคนจะใช้ปืนไรเฟิล หรือปืนลูกซองแทน ในการปราบจลาจลอาจมีการใช้โล่ และกระบอง หรือใช้กระสุนซ้อมมาแทนที่
ในหน่วยงานราชการมีการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ยุทธภัณฑ์อยู่เสมอ สำหรับปืนสั้น เคยมีการใช้ Browning ปัจจุบันมีการใช้ Glock 19 และ HK P7M8 ส่วนอาวุธประจำกายคือ MP5 สำหรับบางคนจะใช้ปืนไรเฟิล หรือปืนลูกซองแทน ในการปราบจลาจลอาจมีการใช้โล่ และกระบอง หรือใช้กระสุนซ้อมมาแทนที่
นเรศวร 261 เป็นหน่วยตำรวจที่มีขีดความสามารถในการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ การส่งทางอากาศ การรบพิเศษ และการปฏิบัติการพิเศษ เพื่อตอบโต้ต่อภัยคุกคามที่เป็นทหาร และไม่ใช่ทหาร ในการสงครามพิเศษ และการแก้ไขปัญหา การก่อความไม่สงบ, การก่อการร้าย ทุกรูปแบบ ด้วยการปฏิบัติการปกปิด รับผิดชอบการปฏิบัติการทั่วประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2526 เป็นหน่วยระดับกองกำกับการ (ผกก.) มีผู้กำกับการเป็นหัวหน้าหน่วยราชการ
การก่อตั้งหน่วย
ใน ช่วงทศวรรษที่70 โลกต้องเผชิญภัยคุกคามที่น่าหวาดกลัวอันเนื่องมาจากการจับยึดตัวประกัน การก่อวินาศกรรม และการลอบสังหาร โดยกลุ่มที่อ้างตัวผู้ก่อการร้าย ตามแบบสงครามอสมมาตร ภัยคุกคามนี้ได้อยากตัวจากความขัดแย้งในอาหรับและอิสราเอล ไปสู่รัฐสนับสนุนต่างๆ ในการก่อตั้งอิสราเอล และเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มประเทศที่นับถืออิสลาม การแนวทางที่กลุ่มก่อการร้ายใช้ ทำให้หลายประเทศตระหนักถึงความร้ายแรง และความน่ากลัวที่จะเกิดขึ้น และสงผลกระทบต่อความสงบสุขของรัฐ จนทำให้หลายประเทศต่างตกลงกันที่จะแบ่งแยกความแตกต่างของอาชญากรรม และการก่อการร้าย เพื่อให้รัฐภาคีใช้วิธีทางกฎหมายเพื่อระงับยับยั้งและจับกุมประเทศไทยขณะ นั้นยังไม่ได้ตระหนักถึงภัยคุกคามนี้อย่างเด่นชัด เพียงแต่มีหน่วยงานบ้างหน่วยที่เกี่ยวข้องอาจมีการฝึกเตรียมการใช้กำลังอยู่ บ้างอันเนื่องมากจาก มีความล่อแหลมที่จะเกิดเหตุการณ์ลักษณะการปล้นยึดอากาศยานของกองทัพอากาศ เท่านั้น จนกระทั่งเหตุการณ์สำคัญ เมื่อ พ.ศ. 2524 ได้มีการปล้นยืดอากาศยาน ของสายการบิน การูด้า ของประเทศอินโดนิเชีย มาลง ณ ท่าอากาศยานดอมเมือง กรุงเทพฯ แต่มีการใช้กำลังในท้ายที่สุด เพื่อยุติเหตุการณ์ โดยการปฏิบัติของกองทัพอากาศร่วมกองทัพอินโดนีเซีย ทำให้รัฐบาลไทยขณะนั้น ตระหนักโดยทันทีว่าภัยคุกคามนี้ได้มาถึงแล้ว จึงได้สั่งการให้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล ขึ้น และได้มีการกำหนดลักษณะสำคัญของการก่อการร้ายสากล ตลอดจนแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ในขั้นเตรียมการ ปฏิบัติการ ฯลฯ ทั้งนี้ตามคำสั่งลงวันที่ 1 ก.พ.2526 ได้สั่งการให้กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และตำรวจ ได้ดำเนินการคัดสรรบุคลากรที่มีความสามารถ เพื่อประกอบกำลังในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายดังกล่าวด้วยกรมตำรวจ จึงได้พิจารณาหน่วยงานที่มีขีดความสามารถสูง และมีอาวุธยุทโธปรณ์มีเพียงพอ จึงได้พิจารณาสั่งการให้ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน รวบรวมข้าราชการตำรวจที่สมัครใจเข้ารับการฝึกฝนเพื่อเป็นบุคลากรของหน่วย ปฏิบัติการพิเศษที่จะตั้งขึ้นนี้ โดยอาศัยครูฝึกของ กองกำกับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นหลักในการดำเนินการฝึก และเริ่มการฝึกโดยใช้พื้นที่ของ กองกำกับการสนับสนุนทางอากาศ (ค่ายนเรศวร) อ.ชะอำ จว.เพชรบุรี และเริ่มการฝึกครั้งแรกใน เมื่อ 19 ก.ย. 2526 จนได้รับคำสั่งอนุมัติให้จัดตั้งหน่วยใน วันที่ 18 ธ.ค. 2527 เป็นหน่วยงานพิเศษในสังกัดกองกำกับการสนับสนุนทางอากาศตำรวจตระเวนชายแดน ต่อมาปลายปี 2529 ตามพระราช กฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 14 หน่วยปฏิบัติการพิเศษนเรศวร 261 ได้รับการบรรจุเข้าเป็นส่วนราชการระดับ กองร้อย ในอัตราการจัดของกองกำกับการสนับสนุนทางอากาศตำรวจตระเวนชายแดน คือกองร้อยที่ 4 กก.สอ.ตชด. ในปัจจุบัน
ใน ช่วงทศวรรษที่70 โลกต้องเผชิญภัยคุกคามที่น่าหวาดกลัวอันเนื่องมาจากการจับยึดตัวประกัน การก่อวินาศกรรม และการลอบสังหาร โดยกลุ่มที่อ้างตัวผู้ก่อการร้าย ตามแบบสงครามอสมมาตร ภัยคุกคามนี้ได้อยากตัวจากความขัดแย้งในอาหรับและอิสราเอล ไปสู่รัฐสนับสนุนต่างๆ ในการก่อตั้งอิสราเอล และเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มประเทศที่นับถืออิสลาม การแนวทางที่กลุ่มก่อการร้ายใช้ ทำให้หลายประเทศตระหนักถึงความร้ายแรง และความน่ากลัวที่จะเกิดขึ้น และสงผลกระทบต่อความสงบสุขของรัฐ จนทำให้หลายประเทศต่างตกลงกันที่จะแบ่งแยกความแตกต่างของอาชญากรรม และการก่อการร้าย เพื่อให้รัฐภาคีใช้วิธีทางกฎหมายเพื่อระงับยับยั้งและจับกุมประเทศไทยขณะ นั้นยังไม่ได้ตระหนักถึงภัยคุกคามนี้อย่างเด่นชัด เพียงแต่มีหน่วยงานบ้างหน่วยที่เกี่ยวข้องอาจมีการฝึกเตรียมการใช้กำลังอยู่ บ้างอันเนื่องมากจาก มีความล่อแหลมที่จะเกิดเหตุการณ์ลักษณะการปล้นยึดอากาศยานของกองทัพอากาศ เท่านั้น จนกระทั่งเหตุการณ์สำคัญ เมื่อ พ.ศ. 2524 ได้มีการปล้นยืดอากาศยาน ของสายการบิน การูด้า ของประเทศอินโดนิเชีย มาลง ณ ท่าอากาศยานดอมเมือง กรุงเทพฯ แต่มีการใช้กำลังในท้ายที่สุด เพื่อยุติเหตุการณ์ โดยการปฏิบัติของกองทัพอากาศร่วมกองทัพอินโดนีเซีย ทำให้รัฐบาลไทยขณะนั้น ตระหนักโดยทันทีว่าภัยคุกคามนี้ได้มาถึงแล้ว จึงได้สั่งการให้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล ขึ้น และได้มีการกำหนดลักษณะสำคัญของการก่อการร้ายสากล ตลอดจนแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ในขั้นเตรียมการ ปฏิบัติการ ฯลฯ ทั้งนี้ตามคำสั่งลงวันที่ 1 ก.พ.2526 ได้สั่งการให้กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และตำรวจ ได้ดำเนินการคัดสรรบุคลากรที่มีความสามารถ เพื่อประกอบกำลังในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายดังกล่าวด้วยกรมตำรวจ จึงได้พิจารณาหน่วยงานที่มีขีดความสามารถสูง และมีอาวุธยุทโธปรณ์มีเพียงพอ จึงได้พิจารณาสั่งการให้ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน รวบรวมข้าราชการตำรวจที่สมัครใจเข้ารับการฝึกฝนเพื่อเป็นบุคลากรของหน่วย ปฏิบัติการพิเศษที่จะตั้งขึ้นนี้ โดยอาศัยครูฝึกของ กองกำกับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นหลักในการดำเนินการฝึก และเริ่มการฝึกโดยใช้พื้นที่ของ กองกำกับการสนับสนุนทางอากาศ (ค่ายนเรศวร) อ.ชะอำ จว.เพชรบุรี และเริ่มการฝึกครั้งแรกใน เมื่อ 19 ก.ย. 2526 จนได้รับคำสั่งอนุมัติให้จัดตั้งหน่วยใน วันที่ 18 ธ.ค. 2527 เป็นหน่วยงานพิเศษในสังกัดกองกำกับการสนับสนุนทางอากาศตำรวจตระเวนชายแดน ต่อมาปลายปี 2529 ตามพระราช กฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 14 หน่วยปฏิบัติการพิเศษนเรศวร 261 ได้รับการบรรจุเข้าเป็นส่วนราชการระดับ กองร้อย ในอัตราการจัดของกองกำกับการสนับสนุนทางอากาศตำรวจตระเวนชายแดน คือกองร้อยที่ 4 กก.สอ.ตชด. ในปัจจุบัน
นเรศวร 261 ยุคแรกๆใช้หมวกกันกระสุนของเยอรมัน
ความหมายของ นเรศวร261
คณะที่ดำเนินการฝึก คณะครูฝึกได้พิจารณาชื่อเรียกหน่วยที่เหมาะสม ซึ่งพิจารณาจากความหมายที่เป็นมงคลแก่หน่วย เป็นที่เคารพยึดมั่นของ “เหล่านักรบแห่งค่ายนเรศวร” ประกอบกับเป็นพระนามของกษัตริย์นักรบ “สมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และยังเป็นนามค่ายซึ่งได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงให้ชื่อหน่วยปฏิบัติการพิเศษนี้ว่า “นเรศวร” ส่วนเลข “261″ มีที่มาจาก ปีที่ได้รับเริ่มการฝึก พ.ศ. 2526 และ เลข 1 มาจากรุ่นที่ทำการฝึก คือ รุ่นที่ 1 นั้นเอง แต่ในเวลาต่อมา หลังจากที่มีการฝึกได้แล้วหลายรุ่นก็ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงชื่อหน่วยไปเป็น อย่างอื่น เพราะเลขดังกล่าว ยังประกอบกับได้เลข 9 ซึ่งถือเป็นเลขมงคล จึงใช้สืบต่อมาจนปัจจุบัน
คณะที่ดำเนินการฝึก คณะครูฝึกได้พิจารณาชื่อเรียกหน่วยที่เหมาะสม ซึ่งพิจารณาจากความหมายที่เป็นมงคลแก่หน่วย เป็นที่เคารพยึดมั่นของ “เหล่านักรบแห่งค่ายนเรศวร” ประกอบกับเป็นพระนามของกษัตริย์นักรบ “สมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และยังเป็นนามค่ายซึ่งได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงให้ชื่อหน่วยปฏิบัติการพิเศษนี้ว่า “นเรศวร” ส่วนเลข “261″ มีที่มาจาก ปีที่ได้รับเริ่มการฝึก พ.ศ. 2526 และ เลข 1 มาจากรุ่นที่ทำการฝึก คือ รุ่นที่ 1 นั้นเอง แต่ในเวลาต่อมา หลังจากที่มีการฝึกได้แล้วหลายรุ่นก็ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงชื่อหน่วยไปเป็น อย่างอื่น เพราะเลขดังกล่าว ยังประกอบกับได้เลข 9 ซึ่งถือเป็นเลขมงคล จึงใช้สืบต่อมาจนปัจจุบัน
ภารกิจและการจัดหน่วย
กองร้อยปฏิบัติการพิเศษ นเรศวร 261 มีภารกิจปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายสากลและการก่อการร้ายในเมืองทุกรูป แบบ นอกจากนั้นยังมีภารกิจการถวายความปลอดภัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถและ พระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานประทับแรม ณ พระตำหนักต่าง ๆ ทั่วประเทศ รักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ และสถานที่สำคัญซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ กองร้อยที่ 4 กก.สอ.ตชด. ประกอบด้วยที่บังคับการกองร้อย หมวดโจมตี หมวดลาดตระเวนซุ่มยิง หมวดเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด หมวดการฝึก และหมวดสนันสนุน
กองร้อยปฏิบัติการพิเศษ นเรศวร 261 มีภารกิจปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายสากลและการก่อการร้ายในเมืองทุกรูป แบบ นอกจากนั้นยังมีภารกิจการถวายความปลอดภัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถและ พระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานประทับแรม ณ พระตำหนักต่าง ๆ ทั่วประเทศ รักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ และสถานที่สำคัญซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ กองร้อยที่ 4 กก.สอ.ตชด. ประกอบด้วยที่บังคับการกองร้อย หมวดโจมตี หมวดลาดตระเวนซุ่มยิง หมวดเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด หมวดการฝึก และหมวดสนันสนุน
การฝึก
การ ฝึกในครั้งแรกไม่มีรูปแบบที่แน่นอน โดยได้รับการสนับสนุนครูฝึกจาก ตร. และยึดรูปแบบการปฏิบัติการเป็นทีม 5 คน เหมือนหน่วยปฏิบัติการพิเศษ GSG 9 ของประเทศเยอรมนี มีการฝึกการยิงปืนทางยุทธวิธี การฝึกพลแม่นปืน การปฏิบัติการทางน้ำ การต่อสู้ป้องกันตัว การขับขี่ยานพาหนะในรูปแบบต่างๆ เมื่อการฝึกรุ่นแรกสำเร็จ ก็มีการถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่เข้าประจำการในกองร้อยปฏิบัติการพิเศษเรื่อย มา อีกทั้งมีการจัดส่งกำลังพลไปฝึกในหลักสูตรต่างๆ ของต่างประเทศและนำวิชาความรู้กลับมาถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่อยู่ในหน่วย โดยจะทำการฝึกกันเองถ่ายทอดกันต่อๆ มา และได้มีการจัดแบ่งหลักสูตร ออกเป็น 5 หลักสูตร คือ
1. หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 24 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุใหม่
2. หลักสูตรทบทวนการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 6 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่ประจำการอยู่ในหน่วย และฝึกทดสอบแผนปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย 1 สัปดาห์
3. หลักสูตรการทำลายระเบิด 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลเก็บกู้ทำลายระเบิด”
4. หลักสูตรพลแม่นปืน 4 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลซุ่มยิง”
5. หลักสูตรผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์ 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “ผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์”
นอกจากนี้ยังมีการฝึกร่วมกับหน่วยปฏิบัติการพิเศษของเหล่าทัพ ในการเตรียมความพร้อมการต่อต้านการก่อการร้ายสากล และการฝึกร่วมกับมิตรประเทศทั้ง ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเยอรมนี
การ ฝึกในครั้งแรกไม่มีรูปแบบที่แน่นอน โดยได้รับการสนับสนุนครูฝึกจาก ตร. และยึดรูปแบบการปฏิบัติการเป็นทีม 5 คน เหมือนหน่วยปฏิบัติการพิเศษ GSG 9 ของประเทศเยอรมนี มีการฝึกการยิงปืนทางยุทธวิธี การฝึกพลแม่นปืน การปฏิบัติการทางน้ำ การต่อสู้ป้องกันตัว การขับขี่ยานพาหนะในรูปแบบต่างๆ เมื่อการฝึกรุ่นแรกสำเร็จ ก็มีการถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่เข้าประจำการในกองร้อยปฏิบัติการพิเศษเรื่อย มา อีกทั้งมีการจัดส่งกำลังพลไปฝึกในหลักสูตรต่างๆ ของต่างประเทศและนำวิชาความรู้กลับมาถ่ายทอดให้กับกำลังพลที่อยู่ในหน่วย โดยจะทำการฝึกกันเองถ่ายทอดกันต่อๆ มา และได้มีการจัดแบ่งหลักสูตร ออกเป็น 5 หลักสูตร คือ
1. หลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 24 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุใหม่
2. หลักสูตรทบทวนการต่อต้านการก่อการร้ายสากล 6 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่ประจำการอยู่ในหน่วย และฝึกทดสอบแผนปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย 1 สัปดาห์
3. หลักสูตรการทำลายระเบิด 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลเก็บกู้ทำลายระเบิด”
4. หลักสูตรพลแม่นปืน 4 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “พลซุ่มยิง”
5. หลักสูตรผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์ 12 สัปดาห์ สำหรับกำลังพลที่บรรจุในตำแหน่ง “ผู้ชำนาญการอิเล็กทรอนิคส์”
นอกจากนี้ยังมีการฝึกร่วมกับหน่วยปฏิบัติการพิเศษของเหล่าทัพ ในการเตรียมความพร้อมการต่อต้านการก่อการร้ายสากล และการฝึกร่วมกับมิตรประเทศทั้ง ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเยอรมนี
การสั่งใช้กำลังเฉพาะคำสั่งโดยตรงของ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ในการสั่งใช้กำลัง
ผลการปฏิบัติที่สำคัญ
1. กรณีเหตุการณ์จับยึดตัวประกันในสถานทูตพม่าประจำประเทศไทย เมื่อ 1-2 ต.ค.2542
2. กรณีเหตุการณ์จับยึดตัวประกันในโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี เมื่อ 24-25 ม.ค.2543
3. กรณีนักโทษพม่าจับผู้บัญชาการเรือนจำ และเจ้าหน้าที่ ของจังหวัดสมุทรสาคร เมื่อ 22-23 พ.ย.2543
ผลการปฏิบัติที่สำคัญ
1. กรณีเหตุการณ์จับยึดตัวประกันในสถานทูตพม่าประจำประเทศไทย เมื่อ 1-2 ต.ค.2542
2. กรณีเหตุการณ์จับยึดตัวประกันในโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี เมื่อ 24-25 ม.ค.2543
3. กรณีนักโทษพม่าจับผู้บัญชาการเรือนจำ และเจ้าหน้าที่ ของจังหวัดสมุทรสาคร เมื่อ 22-23 พ.ย.2543
คอมมานโดของกองปราบปราม “หน่วยสยบริปูสะท้าน”
กองปราบปรามมีการก่อตั้งครั้งแรก พ.ศ.2491 โดยได้จัดตั้งขึ้นตามพ.ร.ก.จัดวางระเบียบราชการกรมตำรวจในกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2491 กำหนดให้ใช้บังคับตั้งแต่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2491เป็นต้นไป ดังนั้นวันสถาปนากองปราบปรามจึงเป็นวันที่ 1 กันยายนของทุกปี เดิมทีที่ทำการอยู่ชั้นล่างของ โรงพักกลาง ซึ่งเป็น สน.พญาไทในปัจจุบัน หลังจากนั้นย้ายมาอยู่ที่ กองปราบปรามสามยอด วรจักร โดยขึ้นตรงต่อ ผ.5กก.2ป. ต่อมา พ.ศ.2514 คอมมานโดได้ย้ายมาอยู่ที่ ที่อยู่ปัจจุบัน คือ ซอยโชคชัย 4 ลาดพร้าว กทม. และตามพระราชกฤษฎีกา ให้ ผ.5กก.2ป. (ปัจจุบัน ผ. 5 กก.ปพ. บก.ป.) เป็นหน่วยกำลัง จู่โจมระงับเหตุฉุกเฉินการจับกุมคนร้ายที่มีสมัครพรรคพวกมาก ประกอบกับการทำงานที่มีลักษณะเป็นทีมปฏิบัติการ ฉะนั้นเพื่อให้เกิดความน่าเกรงขามต่อคนร้าย และเพิ่มศักยภาพของหน่วยงานจึงมีการเรียกชื่อว่า “คอมมานโด” ทำงานร่วมกับศูนย์วิทยุและรถสายตรวจเคลื่อนที่เร็วอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนของกำลังนั้นประกอบด้วยตำรวจที่มีความสามารถในการต่อสู้ป้องกันตัวสูง มีความสามารถในการปราบปรามทั่วประเทศ โดย ผ. 5 กก.ปพ. บก.ป.เป็นกองกำลังหรือหน่วยจู่โจมเพื่อระงับเหตุฉุกเฉิน หรือปราบปรามการจลาจล การก่อวินาศกรรม การจับ กุมคนร้ายที่มีอาวุธร้ายแรง หรือมีพรรคพวกมาก ตลอดจนความไม่สงบอื่นๆ โดยมีเจ้าหน้าที่เตรียมพร้อมอยู่เสมอ เมื่อได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาหรือการร้องขอจากตำรวจท้องที่ สามารถปฏิบัติการได้ทันที
กองปราบปรามมีการก่อตั้งครั้งแรก พ.ศ.2491 โดยได้จัดตั้งขึ้นตามพ.ร.ก.จัดวางระเบียบราชการกรมตำรวจในกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2491 กำหนดให้ใช้บังคับตั้งแต่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2491เป็นต้นไป ดังนั้นวันสถาปนากองปราบปรามจึงเป็นวันที่ 1 กันยายนของทุกปี เดิมทีที่ทำการอยู่ชั้นล่างของ โรงพักกลาง ซึ่งเป็น สน.พญาไทในปัจจุบัน หลังจากนั้นย้ายมาอยู่ที่ กองปราบปรามสามยอด วรจักร โดยขึ้นตรงต่อ ผ.5กก.2ป. ต่อมา พ.ศ.2514 คอมมานโดได้ย้ายมาอยู่ที่ ที่อยู่ปัจจุบัน คือ ซอยโชคชัย 4 ลาดพร้าว กทม. และตามพระราชกฤษฎีกา ให้ ผ.5กก.2ป. (ปัจจุบัน ผ. 5 กก.ปพ. บก.ป.) เป็นหน่วยกำลัง จู่โจมระงับเหตุฉุกเฉินการจับกุมคนร้ายที่มีสมัครพรรคพวกมาก ประกอบกับการทำงานที่มีลักษณะเป็นทีมปฏิบัติการ ฉะนั้นเพื่อให้เกิดความน่าเกรงขามต่อคนร้าย และเพิ่มศักยภาพของหน่วยงานจึงมีการเรียกชื่อว่า “คอมมานโด” ทำงานร่วมกับศูนย์วิทยุและรถสายตรวจเคลื่อนที่เร็วอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนของกำลังนั้นประกอบด้วยตำรวจที่มีความสามารถในการต่อสู้ป้องกันตัวสูง มีความสามารถในการปราบปรามทั่วประเทศ โดย ผ. 5 กก.ปพ. บก.ป.เป็นกองกำลังหรือหน่วยจู่โจมเพื่อระงับเหตุฉุกเฉิน หรือปราบปรามการจลาจล การก่อวินาศกรรม การจับ กุมคนร้ายที่มีอาวุธร้ายแรง หรือมีพรรคพวกมาก ตลอดจนความไม่สงบอื่นๆ โดยมีเจ้าหน้าที่เตรียมพร้อมอยู่เสมอ เมื่อได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาหรือการร้องขอจากตำรวจท้องที่ สามารถปฏิบัติการได้ทันที
การแบ่งหน้าที่
ปกติแล้วกองกำลังคอมมานโดมี หน้าที่เตรียมพร้อมสำหรับการปฏิบัติการได้โดยทันทีหากได้รับคำสั่งจากผู้ บังคับบัญชา ในส่วนของการปฏิบัติงานของ ผ.5กก.2ป. หรือคอมมานโดนั้น ได้มีการแบ่งส่วนการทำงานดังนี้
1.ฝ่ายอำนวยการ
2.ส่วนปฏิบัติการ ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 หมวด ประกอบด้วยหมวดปฏิบัติการ1 2 3และหมวดปฏิบัติการพิเศษ
ปกติแล้วกองกำลังคอมมานโดมี หน้าที่เตรียมพร้อมสำหรับการปฏิบัติการได้โดยทันทีหากได้รับคำสั่งจากผู้ บังคับบัญชา ในส่วนของการปฏิบัติงานของ ผ.5กก.2ป. หรือคอมมานโดนั้น ได้มีการแบ่งส่วนการทำงานดังนี้
1.ฝ่ายอำนวยการ
2.ส่วนปฏิบัติการ ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 หมวด ประกอบด้วยหมวดปฏิบัติการ1 2 3และหมวดปฏิบัติการพิเศษ
หน่วยสยบไพรี บช.ปส.
ชุดปฏิบัติการพิเศษ “สยบไพรี” หรือ NSB Commando ของ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.)
MP5 อาวุธปืนกลพิมพ์นิยมหน่วยปฏิบัติการพิเศษตำรวจไทย
บริษัทผู้ผลิต : H&K GERMANY
กระสุน : 9 MM , 10 MM AUTO , .40S&W
บรรจุกระสุน : 15/30/60/90/100 นัด
ระบบปฏิบัติการ : BLOWBACK , CLOSED BOLT
ระบบการยิง : Semi/ 3 Rds./ FULL AUTO
อัตราการยิงรัว : 800 RPM นัด/นาที
น้ำหนัก : 2.8 Kg
ระยะหวังผล : 25 เมตร
ระยะยิงไกลสุด : 100 เมตร
ฟังก์ชัน : ศูนย์เลเซอร์ , ไฟฉาย , เครื่องยิงระเบิด M203 , กล้อง ZOOM ระยใกล้ถึงไกล , กระบอกเก็บเสียง , BETA C-MAG , DRUM MAGAZINE , MAGGAZINE CLIP + 30 นัด + 60 นัด + 90 นัด
บริษัทผู้ผลิต : H&K GERMANY
กระสุน : 9 MM , 10 MM AUTO , .40S&W
บรรจุกระสุน : 15/30/60/90/100 นัด
ระบบปฏิบัติการ : BLOWBACK , CLOSED BOLT
ระบบการยิง : Semi/ 3 Rds./ FULL AUTO
อัตราการยิงรัว : 800 RPM นัด/นาที
น้ำหนัก : 2.8 Kg
ระยะหวังผล : 25 เมตร
ระยะยิงไกลสุด : 100 เมตร
ฟังก์ชัน : ศูนย์เลเซอร์ , ไฟฉาย , เครื่องยิงระเบิด M203 , กล้อง ZOOM ระยใกล้ถึงไกล , กระบอกเก็บเสียง , BETA C-MAG , DRUM MAGAZINE , MAGGAZINE CLIP + 30 นัด + 60 นัด + 90 นัด
ประวัติ
ปืน MP5 เป็นปืนที่มีน้ำหนักเบาไม่มากจนเกินไป ไม่หนักจนเกินไป มีความคล่องตัวสูง ผลิตมาจากบริษัท H&K ที่มีชื่อเสียงของโลก สัญชาติเยอรมัน MP5 คือปืนกลเบาที่มีชื่อเสียงเเละดังกระฉ่อนมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของบรรดาปืนต่างๆที่ H&K ผลิตสร้างขึ้นมาได้รับความนิยมไปยังหลายหน่วยงาน เช่น นาวิก, SEAL, NATO, SWAT เเละก็ยังถูกเข้าประจำการในกองทัพสหรัฐอีกด้วย เป็นปืนกลที่มีประสิทธิภาพมาก มีความเเม่นยำเป็นเลิศ ระบบการยิง เเละระบบเซฟความปลอดภัยดีเจาะกลุ่มลูกค้าเป็นหลักดี ความทนทานดีไม่เป็นรองใคร เเรงสะท้อนเบาใช้ได้ คุมปืนง่าย เเม้เเต่ในเมืองไทยยังสั่งปืนนี้มาเข้าประจำการมาในเมืองไทยเหมือนกัน ปืน MP5 นั้นจะมีฟังก์ชั่นเยอะ เเล้วปืน MP5 เกือบทุกรุ่น จะมีเเม็กกาซีนพิเศษให้ใช้ด้วย เช่น BETA C-MAG เป็นเเม็กกาซีนบรรจุ 100 นัดคล้ายๆ เเม็กกาซีนของปืน MG36 ที่พัฒนามาจาก G36 เเตก็ไม่ค่อยนิยมใช้เท่าไรเพราะเเม็กกาซีนชนิดนี้จะหนักมาก ส่วนเเบบ DRUM MAG จะเบากว่าเเบบ BETA C-MAG บรรจุ 70 -100 ได้ เเต่ก็ยังไม่นิยมเท่าเเบบเเม็กกาซีน 30 นัด เพราะคล่องตัวกว่า และดีกว่า เเถมยังติดตั้งเเม็กกาซีนเป็นคลิปติดกัน 3 เเม็ก รวมกันเป็น 90 นัด เเล้วเเปะกาวหนังไว้รอบเเม็กกาซีนด้ามปืน ซึ่งจะสามารถเปลี่ยนกระสุนเเละเเม็กกาซีนได้เรวกว่า เบากว่า คล่องตัวกว่าด้วย ไม่ใช่มีเเต่ MP5 อย่างเดียวที่ทำได้ปืนตระกูล M4A1 M16 ก็ทำได้ด้วย เช่นกัน
ปืน MP5 เป็นปืนที่มีน้ำหนักเบาไม่มากจนเกินไป ไม่หนักจนเกินไป มีความคล่องตัวสูง ผลิตมาจากบริษัท H&K ที่มีชื่อเสียงของโลก สัญชาติเยอรมัน MP5 คือปืนกลเบาที่มีชื่อเสียงเเละดังกระฉ่อนมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของบรรดาปืนต่างๆที่ H&K ผลิตสร้างขึ้นมาได้รับความนิยมไปยังหลายหน่วยงาน เช่น นาวิก, SEAL, NATO, SWAT เเละก็ยังถูกเข้าประจำการในกองทัพสหรัฐอีกด้วย เป็นปืนกลที่มีประสิทธิภาพมาก มีความเเม่นยำเป็นเลิศ ระบบการยิง เเละระบบเซฟความปลอดภัยดีเจาะกลุ่มลูกค้าเป็นหลักดี ความทนทานดีไม่เป็นรองใคร เเรงสะท้อนเบาใช้ได้ คุมปืนง่าย เเม้เเต่ในเมืองไทยยังสั่งปืนนี้มาเข้าประจำการมาในเมืองไทยเหมือนกัน ปืน MP5 นั้นจะมีฟังก์ชั่นเยอะ เเล้วปืน MP5 เกือบทุกรุ่น จะมีเเม็กกาซีนพิเศษให้ใช้ด้วย เช่น BETA C-MAG เป็นเเม็กกาซีนบรรจุ 100 นัดคล้ายๆ เเม็กกาซีนของปืน MG36 ที่พัฒนามาจาก G36 เเตก็ไม่ค่อยนิยมใช้เท่าไรเพราะเเม็กกาซีนชนิดนี้จะหนักมาก ส่วนเเบบ DRUM MAG จะเบากว่าเเบบ BETA C-MAG บรรจุ 70 -100 ได้ เเต่ก็ยังไม่นิยมเท่าเเบบเเม็กกาซีน 30 นัด เพราะคล่องตัวกว่า และดีกว่า เเถมยังติดตั้งเเม็กกาซีนเป็นคลิปติดกัน 3 เเม็ก รวมกันเป็น 90 นัด เเล้วเเปะกาวหนังไว้รอบเเม็กกาซีนด้ามปืน ซึ่งจะสามารถเปลี่ยนกระสุนเเละเเม็กกาซีนได้เรวกว่า เบากว่า คล่องตัวกว่าด้วย ไม่ใช่มีเเต่ MP5 อย่างเดียวที่ทำได้ปืนตระกูล M4A1 M16 ก็ทำได้ด้วย เช่นกัน
ต่อมา ปืนกล H&K MP5A3 รุ่นนี้มีการปรับปรุงตรงส่วนพานท้ายจากแบบตายตัวเป็นแบบเลื่อนเข้าออกได้ พร้อมทั้งปรับตรงกระโจมมือให้ติดตั้งไฟฉายไปด้วยเลยไว้ใช้สำหรับการบูกเข้า ไปในที่แคบและมืดครับ ตั้งแต่รุ่น A3 เป็นต้นไปปืนกล H&K MP5 ก็ผลิตสำหรับใช้กับกระสุนขนาด 9×19 mm. Luger อย่างเดียว
หน่วยปฏิบัติการพิเศษของตำรวจทุกหน่วยที่กล่าวมา ล้วนแล้วแต่เป็นข้าราชการของแผ่นดินเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาวุธยุทโธปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการฝึกล้วนแล้วแต่มาจากภาษีอากรของประชาชน
ดังนั้นตำรวจหน่วยปฏิบัติการพิเศษทุกนายต้องทำงานเพื่อแผ่นดิน เพื่อชาติ และประชานอย่างแท้จริงสมกับเครื่องแบบโดยเฉพาะเครื่องหมายตราแผ่นดินหน้าหมวกของตำรวจ จึงจะเป็นที่ชื่นชอบศรัทธาของประชาชนและมีความเจริญก้าวหน้าในงานราชการต่อไป
ขอขอบคุณ ดร.โย